วันพฤหัสบดีที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551

สุตรฟิสิกส์

• การเคลื่อนที่แนวตรง
• แรง มวล กฎของนิวตัน
• สมดุลกล
________________________________________
การเคลื่อนที่แนวตรง
1. อัตราเร็วเฉลี่ย (m/s)

2. อัตราเร็วขณะใดๆ (m/s)

3. ความเร็วเฉลี่ย (m/s)

4. ความเร็วขณะใดๆ (m/s)

5. ความเร่งเฉลี่ย (m/s.s)

6. ความเร่งขณะใดๆ (m/s.s)

7. ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณต่างๆ
u คือ ความเร็วต้น (m/s)
v คือ ความเร็วปลาย (m/s)
a คือ ความเร่ง (m/s.s) ในการเคลื่อนที่อิสระของวัตถุภายใต้แรงดึงดูดของโลก จะมีความเร่งซึ่งเกิดจากโน้มถ่วง แทนด้วยสัญลักษณ์ g โดย g มีค่าประมาณ 9.8 m/s.s หรือ 10 m/s.s
S คือ การกระจัด (m)
t คือ เวลา (s)





แรง มวล กฎของนิวตัน
1. กฎข้อที่ 1 ของนิวตัน
เมื่อแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุเป็นศูนย์ วัตถุจะไม่เปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ คือ ถ้าวัตถุอยู่นิ่ง จะอยู่นิ่งต่อไป ถ้าวัตถุกำลังเคลื่อนที่ ก็จะเคลื่อนที่ต่อไปด้วยความเร็วคงเดิม

2. กฎข้อที่ 2 ของนิวตัน

3. กฎข้อที่ 3 ของนิวตัน
ทุกแรงกิริยา จะมีแรงปฏิกิริยา ซึ่งจะมีขนาดเท่ากัน ทิศทางตรงกันข้ามเสมอ

2.แรงดึงดูดระหว่างมวล
G คือ ค่านิจโน้มถ่วงสากล โดย
R คือ ระยะห่างระหว่างมวลทั้ง 2

3. จุดศูนย์กลางมวล (Center of Mass)

ในกรณีที่มวลไม่ได้อยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน ให้คิดทางแกนแนวตั้ง ด้วย ออกมาจะได้เป็นคู่อันดับของจุดศูนย์กลางมวล
สำหรับจุดศูนย์ถ่วง (Center of Gravity) จะคล้ายๆกับสูตรของจุดศูนย์กลางมวล เพียงแต่เปลี่ยนจาก m เป็น W (น้ำหนัก = mg)

4. แรงเสียดทานสถิตสูงสุด

5. แรงเสียดทานจลน์


สมดุลกล
1. โมเมนต์
F คือ แรง
S คือ ระยะทางจากจุดหมุนมาตั้งฉากกับแนวแรง

2. สมดุลต่อการหมุน

3. ทฤษฎีลาร์มี



4. ทฤษฎีลาร์มี



5. ทฤษฎีลาร์มี

เมื่อ AB//F1 , BC//F2 , CA//F3

เพิ่มเติม
ตัวอย่างการเขียนแรงกระทำ
ไม้คานวางพิงกำแพง
ไม้คานวางพาดกำแพง
บานพับ

Top




• งาน พลังงาน
• โมเมนตัม
• การเคลื่นที่แบบต่างๆ
o โพรเจคไทล์
o การเคลื่อนที่แนววงกลม
o การเคลื่อนที่แบบหมุน
o การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิก
________________________________________
งาน พลังงาน
1. งาน
W คือ งาน งานมีหน่วยเป็น N/s หรือ J
F คือ แรง
S คือ การกระจัดตามแนวแรง
ถ้า แรงไม่ได้กระทำอยู่ในแนวกระจัด ให้เราทำการแตกแรง F ให้อยู่ในแนวกระจัดเสียก่อน
ถ้า แรงกระทำไม่คงที่่ ให้ใช้เป็น แรงเฉลี่ย

2. กำลัง คือ งานที่ทำได้ใน 1 วินาที
กำลัง มีหน่วยเป็น J/s หรือ watt

3. พลังงานจลน์

4. พลังงานศักย์โน้มถ่วง
ในการคำนวณ จะต้องมีการกำหนดจุดอ้างอิง และใช้ค่า h (ความสูง) ตามที่เราอ้างอิงไว้ ดังนั้น h จะมีค่าเป็น บวก หรือ ลบ ก็ได้

5. สปริง
F คือ แรงที่ใช้ยืด หรือ อัด สปริง
k คือ ค่านิจสปริง หน่วย N/m
S คือ ระยะยืด หรือ ระยะหด ของสปริง

6. พลังงานศักย์ยืดหยุ่นของสปริง

7. การนำสปริงมาต่ออนุกรมกัน

8. การนำปริงมาต่อขนานกัน

9. พลังงานกลรวมของระบบ

10. กฎอนุรักษ์พลังงาน

11. ความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานจลน์ กับ งาน ของอนุภาค
พลังงานจลน์ที่เปลี่ยนไป = งานในการที่วัตถุเคลื่อนจากตำแหน่ง 1 ไปตำแหน่ง 2
ในการหางาน จะมีงานย่อยๆหลายตัว ซึ่งแต่ละตัว จะเป็นบวก หรือ ลบ ก็ได้ ขึ้นอยู่กับว่า งานนั้นามาจากแรงที่ช่วยทำให้วัตถุเคลื่อนที่(เป็น +) หรือมาจาก แรงที่ต้านการเคลื่อนที่ของวัตถุ (เป็น -)

โมเมนตัม
1. โมเมนตัม

2. การดล และ การเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม

3. กฎอนุรักษ์โมเมนตัม
การชนกันของวัตถุ โมเมนตัมรวมของระบบก่อนชน จะเท่ากับ โมเมนตัมรวมของระบบหลังชน เมื่อแรงลัพธ์ที่มากระทำเป็นศูนย์


การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
1. โพรเจคไทล์
ในการคำนวณ จะอ้างว่า เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ในแนวราบ = เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
แล้วใช้สูตรการเคลื่อนที่แนวตรงคิด
เพิ่มเติม
ถ้าความเร็วต้นของวัตถุทำมุม 45 องศา กับแนวราบ (เท่ากับ 45 องศา กับแนวดิ่ง) วัตถุจะเคลื่อนที่ได้การกระจัดแนวราบไกลสุด
ถ้าต้องการให้วัตถุตกลงมาบนจุดเดียวกัน(มีการกระจัดแนวราบเท่ากัน) มุมที่ความเร็วต้นทำกับแนวราบ ของครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 จะต้องรวมกันได้ 90 องศา แนวราบ

แนวดิ่ง






2. การเคลื่อนที่แนววงกลม
2.1 ความแร่งสู่ศูนย์กลาง

2.2 แรงสู่ศูนย์กลาง

2.3 คาบ และ ความถี่

2.4 อัตราเร็วเชิงมุม
คือ อัตราเร็วเชิงมุม มีหน่วยคือ rad/s
คือ การกระจัดเชิงมุม เป็นมุมที่วัตถุหมุนไปได้ หน่วยคือ rad

2.5 อัตราเร็วเชิงเส้น

3. การเคลื่อนที่แบบหมุน
3.1 ความเร็วเชิงมุม

3.2 ความเร่งเชิงมุม

3.3 ความสัมพันธ์ระหว่าง ความเร็วเชิงมุม ความเร่งเชิงมุม การกระจัดเชิงมุม และ เวลา
คือ ความเร็วเชิงมุมปลาย
คือ ความเร็วเชิงมุมต้น
คือ ความเร่งเชิงมุม
คือ การกระจัดเชิงมุม
t คือ เวลา





3.4 โมเมนต์ความเฉื่อย

3.5 ทอร์ก
F คือ แรง
R คือ การกระจัดจากจุดหมุนมาตั้งฉากกับแนวแรง


3.6 โมเมนตัมเชิงมุม

3.7 การเปลี่ยนแปลงโมเมนตัมเชิงมุม

3.8 กฎอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงมุม

3.9 งาน

เพิ่มเติม
ในการจำสูตร์ต่างๆของการเคลื่อนที่แบบหมุน สูตรจะคล้ายๆกับการเคลื่อนที่แนวตรงและบทอื่นๆ โดยเปลี่ยนสัญลักษณ์ไป ดังนี้

4. การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิก
4.1 หากวัตถุเริ่มเคลื่อนที่จากจุดไกลสุด
จะได้ การกระจัด ความเร็ว และ ความเร่งดังนี้
A คือ แอมพลิจูด (ระยะที่วัดจากจุดสมดุลของการสั่น ไปถึงจุดไกลสุดของการสั่น



4.2 หากวัตถุเริ่มเคลื่อนที่จากจุดสมดุล
จะได้ การกระจัด ความเร็ว และ ความเร่งดังนี้



4.3 ความเร็ว กับการกระจัด

4.4 ความเร่ง กับการกระจัด

4.5 ค่าคงที่

4.6 คาบของการเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิก

4.7 เฟส
คือ เฟสเริ่มต้นของวัตถุ


4.8 สมการทั่วไปของการเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิก



4.9 คาบของการแกว่งลูกตุ้มนาฬิกา

4.10 คาบของการแกว่งของมวลติดปลายสปริง

Top



• ปรากฎการณ์คลื่น
• เสียงและการได้ยิน
• แสงและการมองเห็น
________________________________________
ปรากฎการณ์คลื่น
1. ความเร็วคลื่น
คือ ความยาวคลื่น
T คือ คาบ
f คือ ความถี่

2. ความเร็วคลื่นในเส้นเชือก
T คือ แรงตึงเชือก
คือ มวลต่อหนึ่งหน่วยความยาว


3. ความยาวคลื่น เมื่อแหล่งกำเนิดมีการเคลื่อนที่

คือ ความยาวคลื่นด้านหน้า
คือ ความยาวคลื่นด้านหลัง
v คือ ความเร็วของคลื่น
คือ ความเร็วของแหล่งกำเนิดคลื่น

4. ความต่างเฟส
คือ ความต่างเฟส
คือ ระยะห่างของจุด 2 จุดบนคลื่น
คือ เวลาที่ใช้



5. สโตรโบสโคป
คือ ความถึ่ของคลื่น
คือ ความถี่ของสโตรโบสโคปที่เราหมุน
n คือ จำนวนช่องของสโตรโบสโคป

6. การหักเหของคลื่น
คือ มุมตกกระทบ หรือ มุมสะท้อน

7. มุมวิกฤต( )


8. การแทรกสอดของคลื่น เมื่อแหล่งกำเนิดทั้งสองปล่อยคลื่นออกมามีเฟสตรงกัน
AN หมายถึง สมการปฏิบัพ (Antinode)
N หมายถึง สมการบัพ (Node)
ถ้าคลื่นที่ออกมามีเฟสตรงข้ามกัน สูตรจะสลับสมการกัน

9. การแทรกสอดของคลื่น ที่จุดไกลจากแหล่งกำเนิดมากๆ
AN หมายถึง สมการปฏิบัพ (Antinode)
N หมายถึง สมการบัพ (Node)
ถ้าคลื่นที่ออกมามีเฟสตรงข้ามกัน สูตรจะสลับสมการกัน

10. การแทรกสอดหลังจากคลื่นเลี้ยวเบนผ่านช่องแคบเดี่ยวออกไปแล้ว
AN หมายถึง สมการปฏิบัพ (Antinode)
N หมายถึง สมการบัพ (Node)

เสียงและการได้ยิน
1. เปรียบเทียบความเร็วเสียงในที่ที่อุณหภูมิ(หน่วย K)ต่างกัน ความดันเท่ากัน

2. ความเร็วเสียงในอุณหภูมิองศาเซลเซียส

3. อัตราเร็วเสียงในของแข็ง
Y คือ มอดูลัสความยืดหยุ่นของของแข็ง
คือ ความหนาแน่น


4. อัตราเร็วเสียงในของเหลว
B คือ มอดูลัสความยืดหยุ่นของของเหลว

5. อัตราเร็วเสียงในแก๊ส
P คือ ความดันของอากาศ
คือความจุความร้อนจำเพาะเมื่อความดันคงที่
คือความจุความร้อนจำเพาะเมื่อปริมาตรคงที่


6. ความถึ่ของบีตส์

7. ความถี่ของเสียงที่ได้ยิน

8. ความเข้มเสียง (หน่วย watt/m.m)
P คือ กำลังเสียงของแหล่งกำเนิดเสียง

9. ระดับความเข้มเสียง (หน่วย เดซิเบล, db)
คือ ความเข้มเสียงต่ำสุดที่มนุษย์ได้ยิน โดย


10. ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์
คือ ความยาวคลื่นด้านหน้า
คือ ความยาวคลื่นด้านหลัง
คือ ความเร็วแหล่งกำเนิด
คือ ความถี่แหล่งกำเนิด


11. ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ ความถี่ที่ผู้สังเกตได้รับ
คือ ความถึ่แหล่งกำเนิด
u คือ ความเร็วเสียง
คือ ความเร็วผู้สังเกต
คือ ความเร็วแหล่งกำเนิด
ในการใช้สูตรนี้ ในการแทนค่า จะต้องคำนึงถึงเครื่องหมายด้วย ว่าจะกำหนดให้ทิศทางใดเป็น + ทิศทางใดเป็น -

12. คลื่นกระแทก



แสงและการมองเห็น
1. จำนวนภาพที่เกิดขึ้น เมื่อวางกระจก 2 บาททำมุม กัน
หากคิดได้เศษทศนิยม ให้ปัดขึ้นเป็นจำนวนเต็ม

2. ระยะโฟกัส
S คือ ระยะวัตถุ (ถ้าอยู่หน้าเลนส์ เป็น บวก , อยู่หลังเลนส์ เป็น ลบ)
S' คือ ระยะภาพ (ถ้าภาพจริง เป็น บวก , ภาพเสมือน เป็น ลบ)

3. กำลังขยาย
I คือ ความสูง(ขนาด)ภาพ
O คือ ความสูง(ขนาด)วัตถ
S คือ ระยะวัตถุ
S' คือ ระยะภาพ ุ

4. การนำเลนส์หลายๆอันมารวมกัน จะได้ กำลังขยายรวม คือ

5. การนำเลนส์มาวางประกบกัน จะได้ ระยะโฟกัสรวม คือ

6. กำลังของเลนส์

7. ดรรชนีหักเหของตัวกลาง
c คือ อัตราเร็วแสงในสูญญากาศ โดย
v คือ อัตราเร็วแสงในตัวกลางนั้นๆ

8. ดรรชนีหักเหของวัตถุตัวกลางที่ 2 เทียบกับตัวกลางที่ 1
n คือ ดรรชนีหักเห
v คือ อัตราเร็วแสงในวัตถุ
คือ ความยาวคลื่น
คือ มุมตกกระทบ หรือ มุมหักเห


9. มุมวิกฤต ( ) เป็นมุมที่ทำให้เกิดการสะท้อนกลับหมด นั่นก็คือ มุมหักเหมีค่า 90 องศา

10 ความยาวกล้องจุลทรรศน์
คือ ระยะภาพของเลนส์ใกล้วัตถุ
คือ ระยะวัตถุของเลนส์ใกล้ตา
นั่นก็คือ ความยาวกล้อง มีค่าเท่ากับ ระยะห่างของเลนส์ทั้ง 2

11. ปริมาณแสง (มีหน่วยเป็น ลูเมน, lm)
I คือ ความเข้มการส่องสว่าง มีหน่วยคือ แคนเดลา (Cd)

12. ความสว่าง (มีหน่วยเป็น ลูเมนต่อตารางเมตร หรือ ลักซ์)
F คือ ปริมาณแสง
A คือ พื้นที่หน้าตัด

Top



• ไฟฟ้าสถิต
• ไฟฟ้ากระแส
• แม่เหล็กไฟฟ้า
• ไฟฟ้ากระแสสลับ
________________________________________
ไฟฟ้าสถิต
1. ประจุบนทรงกลม หลังจากนำทรงกลมทั้ง 2 มาแตะกัน
Q คือ ประจุ หน่วยคือ คูลอมบ์ (C)
r คือ รัสมี

2. แรงกระทำระหว่างประจุ 2 ประจุ
K คือ ค่าคงที่ทางไฟฟ้า โดย
หรือ


3. สนามไฟฟ้า
K คือ ค่าคงที่ทางไฟฟ้า
Q คือ ประจุของประจุต้นเหตุ
R คือ ระยะห่างจากจุดนั้นๆไปถึงประจุต้นเหตุ

4. แรงที่กระทำต่อประจุ ในบริเวณที่มีสนามไฟฟ้า
q คือ ประจุ
E คือ สนามไฟฟ้า

5. ศักย์ไฟฟ้า ที่ระยะ R ห่างจากประจุ Q
ถ้ามีประจุต้นเหตุหลายประจุ ให้คิด V จากแต่ละประจุ แล้วนำมารวมกัน

6. พลังงานศักย์ไฟฟ้า
K คือ ค่าคงที่ทางไฟฟ้า
Q คือ ประจตัวที่หนึ่งุ
q คือ ประจุตัวที่สอง
R คือ ระยะห่างระหว่างสองประจุ

7. งาน(ภายนอก)ในการเคลื่อนประจุ จากตำแหน่ง 1 ไปตำแหน่ง 2
q คือ ประจุ
V คือ ศักยืไฟฟ้า

8. ศักย์ไฟฟ้าในตัวนำทรงกลม
K คือ ค่าคงที่ทางไฟฟ้า
Q คือ ประจุของตัวนำทรงกลม
r คือ รัสมีของตัวนำทรงกลม

9. ศักย์ไฟฟ้าที่ระยะห่าง R จากจุดศูนย์กลางของตัวนำทรงกลมทรงกลม
K คือ ค่าคงที่ทางไฟฟ้า
Q คือ ประจุของตัวนำทรงกลม

10. ความจุของตัวนำ
Q คือ ประจุ
V คือ ศักย์ไฟฟ้า

11. ความจุของตัวนำทรงกลม อาจหาจากสูตร
r คือ รัสมี
K คือ ค่าคงที่ทางไฟฟ้า

12. ความจุรวม เมื่อต่อตัวเก็บประจุแบบขนาน

13. ความจุรวม เมื่อต่อตัวเก็บประจุแบบอนุกรม

ไฟฟ้ากระแส
1. กระแสไฟฟ้าในตัวนำ ซึ่งมีประจุไฟฟ้ารวมเท่ากับ Q ไหลผ่านในเวลา t
I มีหน่วยเป็น C/s หรือ A (แอมแปร์)

2. กระแสไฟฟ้าในโลหะตัวนำ
v คือ ความเร็วของอิเลกตรอน
A คือ พื้นที่หน้าตัดของตัวนำ
n คือ ความหนาแน่นของอิเล็กตรอนอิสระในตัวนำ
e คือ ประจุไฟฟ้าของอิเล็กตรอน

3. กฎของโอห์ม
V คือ ความต่างศักย์
I คือ กระแสไฟฟ้า
R คือ ความต้านทาน

4. ความต้านทาน เมื่อรู้รูปร่างของวัตถุ
คือ สภาพต้านทานของวัตถุ
L คือ ความยาวของวัตถุตามแนวที่กระแสไหล
A พื้นที่หน้าตัดของวัตถุ(ตั้งฉากกับ L)

5. ความต้านทานรวม เมื่อต่อแบบอนุกรม

6. ความต้านทานรวม เมื่อต่อแบบขนาน

7.การต่อความต้านทานแบบวีตสโตน



8. กระแสไฟฟ้าในวงจร
ผลรวมของแรงเคลื่อนไฟฟ้า โดย ถ้าต่อกลับขั้วกัน E จะหักล้างกัน
R ความต้านทานภายนอก
r ความต้านทานภายใน (ผลรวมจะนำมารวมกันทั้งหมด ไม่หักล้างกัน)

9.กฏของเคอร์ชอร์ฟ ข้อที่ 2 (กฏของลูพ)
ผลบวกทางพีชคณิตของแรงเคลื่อนไฟฟ้า(E)ในลูพใดๆ จะเท่ากับผลบวกทางพีชคณิตของ IR ในลูพนั้นๆ
เพิ่มเติม
กฏของเคอร์ชอร์ฟ ข้อที่ 1
ผลบวกทางพีชคณิตของกระแสไฟฟ้าในสายต่างๆ ณ จุดใดๆของวงจรไฟฟ้าจะมีค่าเป็นศูนย์ (ก็คือ กระแสไหลเข้า = กระแสไหลออก)

10. พลังงานไฟฟ้า
Q คือ ประจุ
V คือ ความต่างศักย์ไฟฟ้า

11. กำลังไฟฟ้า
W คือ พลังงานไฟฟ้า
t คือ เวลา

12.ยูนิต
P หน่วยเป็น กิโลวัตต์
t หน่วยเป็นชั่วโมง
เพิ่มเติม
การคิดค่าไฟฟ้าอัตราคงที่ จะนำ จำนวนยูนิต คูณกับ ค่าไฟฟ้าต่อ 1 ยูนิต
การคิดค่าไฟฟ้าอัตราก้าวหน้า จะแบ่งคิดทีละช่วง

แม่เหล็กไฟฟ้า
1. ความเข้มสนามแม่เหล็ก
B คือ ความเข้มสนามแม่เหล็ก หน่วยคือ W/m.m หรือ เทสลา
คือ ฟลักซ์แม่เหล็ก (ความหนาแน่นของเส้นแรงแม่เหล็ก) หน่วยคือ W (เวเบอร์)
A คือ พื้นที่หน้าตัด

2. แรงกระทำต่อประจุไฟฟ้า เมื่อเคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็ก
q คือ ประจุไฟฟ้า
v คือ ความเร็ว
B คือ ความเข้มสนามแม่เหล็ก

3. แรงกระทำต่อลวดตัวนำที่มีกระแสไฟฟ้าผ่านเมื่อวางในสนามแม่เหล็ก
I คือ กระแสไฟฟ้า
L คือ ความยาว
B คือ ความเข้ามสนามแม่เหล็ก

4. โมเมนต์คู่ควบที่เกิดขึ้นบนขดลวดในสนามแม่เหล้ก
B คือ ความเข้มสนามแม่เหล็ก
I คือ กระแสไฟฟ้า
A คือ พื้นที่หน้าตัด
N คือ จำนวนรอบของขดลวด
คือ มุมที่ระนาบขดลวดทำกับสนามแม่เหล็ก

5. แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำ ที่เกิดจากลวดเส้นตรงเคลื่อนที่ผ่านสนามแม่เหล็ก
e คือ แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำ
B คือ ความเข้มสนามแม่เหล็ก
L คือ ความยาวของลวด
v คือ ความเร็ว
คือ มุมที่ลวดทำกับสนามแม่เหล็ก


6. การแปลงความต่างศักย์ของหม้อแปลงไฟฟ้า
V คือ ความต่างศักย์
N คือ จำนวนรอบของขดลวด

ไฟฟ้ากระแสสลับ
1. แรงเคลื่อนไฟฟ้าขณะเวลาใดๆ เมื่อหมุนขดลวดตัดสนามแม่เหล็ก

2. จาก 1. หากต่อความต้านทานเข้าไปด้วย จะได้กระแส และ ความต่างศักย์ดังนี้

3. ค่ายังผล หรือ ค่ามิเตอร์ ของกระแส และ ความต่างศักย์

4. ความต้านทานเชิงความจุ หรือ รีแอกแทนต์เชิงความจุ

5. การต่อตัวเก็บประจุแบบอนุกรม จะได้ ความต้านทานเชิงความจุรวมดังนี้

6. การต่อตัวเก็บประจุแบบขนาน จะได้ความต้านทานเชิงความจุรวมดังนี้

7. ความต้านทานเชิงความเหนี่ยวนำ หรือ รีแอกแทนต์เชิงเหนี่ยวนำ

8.การต่อตัวเหนี่ยวนำอนุกรม จะได้ค่าความเหนี่ยวนำรวมดังนี้

9.การต่อตัวเหนี่ยวนำอจะได้ค่าความเหนี่ยวนำรวมดังนี้

10. กำลังไฟฟ้า




• สมบัติของแข็์ง
• สมบัติของเหลว
• แก๊ส และทฤษฎีจลน์
________________________________________
สมบัติของแข็ง
1. ความเค้น
F จะต้องตั้งฉากกับพื้นที่หน้าตัด A

2. ความเครียด
คือ ความยาวที่เปลี่ยนแปลง


3. ค่ามอดูลัสของยังก์

สมบัติของเหลว
1. ความหนาแน่น

2. ความดัน

3. ความดันเกจ
คือ ความหนาแน่นของของเหลว
h คือ ระยะจากผิวน้ำไปจนถึงจุดนั้นๆ
เพิ่มเติม
ในของเหลวที่อยู่นิ่ง ที่ระดับความลึกเท่ากัน จะมีความดันเกจเท่ากัน

4. แรงลอยตัว
คือ ความหนาแน่ของของเหลว
V คือ ปริมาตรของวัตถุที่จมลงไป

5. ความตึงผิด
L ความยาวขอบของวัตถุที่สัมผัสของเหลว

6. แรงหนืดที่ของเหลวต้านการเคลื่อนที่ของวัตถุทรงกลม
คือ สัมประสิทธิ์ความหนืด หน่วยคือ N.s/m.m
v คือ ความเร็ว
R รัสมีทรงกลม

7. อัตราการไหล
A คือ พื้นที่หน้าตัดของท่อ
v คือ ความเร็วของของเหลว

8. สมการแบร์นูลี
ผลรวมของ ความดัน พลังงานจลน์ต่อปริมาตร และ พลังงานศักย์ต่อปริมาตร ทุกจุดภายในท่อที่ของไหลไหล จะเป็นค่าคงที่

แก๊ส และทฤษฎีจลน์
1. การเทียบอุณหภูมิในหน่วยต่างๆ

2. ความร้อนที่สสารใช้ในการเปลี่ยนอุณหภูมิ
C คือ ค่าความจุความร้อน
c คือ ค่าความจุความร้อนจำเพาะ
คือ อุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลง หน่วย K (อาจใช้ หน่วยองศาเซลเซียส แทนได้ เพราะค่าเท่ากัน)

3. ความร้อนแฝง เป็นความร้อนที่ทำให้วัตถุเปลี่ยนสถานะไป
m คือ มวล
L คือ ความร้อนแฝงจำเพาะ โดย Lของน้ำ-น้ำแข็ง = และ Lของไอน้ำ-น้ำ =


4. กฎของแก๊ส
P คือ ความดัน หน่วยคือ N/m.m หรือ Pa
V คือ ปริมาตร หน่วย ลูกบาศก์เมตร
n คือ จำนวนโมลของแก๊ส
R คือ ค่านิจแก๊ส โดย R = 8.31 J/mol.K
T คือ อุณหภูมิ หน่วยคือ K
N คือ จำนวนโมเลกุลของแก๊ส
คือ ค่าคงที่ของโบลต์มันน์ โดย (คือการนำ R มาหารด้วยเลขอาโวกาโดร)

5. ความดันรวมเมื่อนำแก๊สมารวมกัน (อุณหภูมิต้องคงที่)

6. ทฤษฏีจลน์ของแก๊ส ความสัมพันธ์ระหว่างความดัน ปริมาตร จำนวนโมเลกุล มวล อัตราเร็ว
P คือความดัน
V คือปริมาตร
N คือ จำนวนโมเลกุล
m คือมวลของแก๊ส 1 โมเลกุล
คือ ค่าเฉลี่ยกำลังสองของความเร็วของโมเลกุลของแก๊ส

7. อัตราเร็วรากที่สอง ของกำลังสองเฉลี่ยของโมเลกุลของแก๊ส

8. พลังงานจลน์เฉลี่ยของแก๊สโมเลกุลเดี่ยว

9. งานที่แก๊สทำ
P คือ ความดัน
คือปริมาตรของแก๊สที่เปลี่ยนแปลงไป

10. พลังงานภายในระบบ

11. เทอร์โมไดนามิกส์ (กฎข้อที่ 1)

Top



• ฟิสิกส์อะตอม
• ฟิสิกส์นิวเคลียร์
________________________________________
ฟิสิกส์อะตอม
1. การทดลองหยดน้ำมันของมิลิแกน
q คือ ประจุ
E คือ สนามไฟฟ้า
m คือ มวล

2. ควอนตัมของพลังงาน
h คือ ค่าคงที่ของพลังค์ โดย


3. ทฤษฎีอะตอมของโบร์
"อิเล็กตรอนจะวิ่งรอบนิวเคลียสเป็นวงกลม โดยมีวงจรบางวงที่อิเล็กตรอนไม่แผ่นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าออกมา อิเล็กตรอนจีงวิ่งวนโดยมีโมเมนตัมเชิงมุมคงที่ และมีค่าเป็นจำนวนเท่าของค่าคงที่มูลฐานค่าหนึ่งคือ
L คือ โมเมนตัมเชิงมุม
m คือ มวล
v คือ ความเร็วเชิงเส้น
r คือ รัศมี
n คือ เลขควอนตัม หรือ เลขบอกวงโคจร ซึ่งจะเป็นเลขจำนวนเต็มบวก



4. ทฤษฎีอะตอมของโบร์
"อิเล็กตรอนจะรับหรือปล่อยพลังงานออกมาเมื่ออิเล็กตรอนเปลี่ยนวงโคจร พลังงานที่อิเล็กตรอนปล่อยออกมาจะมีอยู่ในรูปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า(โฟตอน)
h คือ ค่าคงที่ของพลังค์
f คือ ความถึ่
c คือ ความเร็วแสง โดย
คือ ความยาวคลื่น


5. พลังงานกระตุ้น
E คือพลังงานของอิเล็กตรอน

6. สมมติฐานของเดอบรอยล์
คือ ความยาวคลื่น
h คือ ค่าคงที่ของพลังค์
P คือ โมเมนตัม

ฟิสิกส์นิวเคลียร์
1. การสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี กับเวลาครึ่งชีวิต
m คือ มวล
คือ มวลเริ่มต้น
n คือ จำนวนรอบของช่วงเวลาครึ่งชีวิต
t คือ เวลาที่ใช้ทั้งหมด
คือ เวลาครึ่งชีวิต


2. ค่านิจการสลายตัว
คือ ค่านิจการสลายตัว
คือ เวลาครึ่งชีวิต


3. รัสมีของนิวเคลียส
คือ รัศมีนิวเคลียสของธาตุไฮโดรเจน โดย
A คือ เลขมวล

4. มวลและพลังงาน
E คือ พลังงาน
m คือ มวล หน่วยคือ กิโลกรัม
c คือ ความเร็วแสง
เพิ่มเติม
ในการวัดมวลของนิวเคลียส (เลขมวล) ของธาตุ จะบอกเป็นหน่วย u (atomic mass unit) ซึ่งเราจะต้องเปลี่ยนหน่วยจาก u ให้เป็น kg ดังนี้



Top